วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน


แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
             ประการแรก คือ การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนและการเรียนรู้ของผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล แล้วนำมาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของผู้เรียนและการสอนของครู
            การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินสรุปผลการเรียนรู้ ซึ่งมีหลายระดับ ได้แก่ เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียน จบรายวิชาเพื่อตัดสินให้คะแนน หรือให้ระดับผลการเรียน 
การกำกับดูแลคุณภาพการศึกษา
           1.  การประเมินระดับชั้นเรียน
           2. การประเมินระดับสถานศึกษา
           3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
           4.  การประเมินระดับชาติ 
องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
          คุณภาพผู้เรียน
          การเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ
          กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
          การอ่านวิเคราะห์และเขียน
          คุณลักษณะอันพึงประสงค์
การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง
         อ่าน (รับสาร) :  หนังสือ เอกสาร โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต สื่อต่าง ๆ ฯลฯ แล้วสรุปเป็นความรู้ความเข้าใจ ของตนเอง
         คิดวิเคราะห์ : วิเคราะห์ สังเคราะห์ หาเหตุผล แก้ปัญหา และสร้างสรรค์
         เขียน (สื่อสาร) : ถ่ายทอดความรู้ ความคิด สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางฯ
            1.  รักชาติ  ศาสน์ กษัตริย์
            2.  ซื่อสัตย์สุจริต
            3.  มีวินัย
            4. ใฝ่เรียนรู้
            5. อยู่อย่างพอเพียง
            6.  มุ่งมั่นในการทำงาน
            7.  รักความเป็นไทย
            8.  มีจิตสาธารณะ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
            ดีเยี่ยม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ
            ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
            ผ่าน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ
            ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนหรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ
 การสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
            ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับดี
            ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน ๑-๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับดี หรือ ๒. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน หรือ๓. ได้ผลการประเมินระดับดี จำนวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน
            ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษากำหนดโดยพิจารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จำนวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน หรือ ๒. ได้ผลการประเมินระดับดี จำนวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน
            ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษากำหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ 
การเลื่อนชั้น
            ๑) ผู้เรียนมีเวลาเรียนตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด
            ๒) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านทุกรายวิชาพื้นฐาน
            ๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
การเรียนซ้ำชั้น
            ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียน เป็นสำคัญ 











การวัดและการประเมินผล

การวัดผลและประเมินผ
ความหมายของการวัดผล
      การวัดผล หมายถึง  กระบวนการในการกำหนดตัวเลขแทนปริมาณของสิ่งต่างๆที่ต้องการการวัดหรือคุณลักษณะ (Traits) ที่ต้องการวัดอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เชื่อถือได้ โดยจะต้องมีเครื่องมือที่ใช้วัดและผลการวัดที่ได้จะตอบคำถามที่ว่าสิ่งที่จะวัดมีจำนวนมากน้อยเท่าไร (How much) จากตัวอย่างที่กล่าวมาการวัดผลจะประกอบด้วยลักษณะที่สำคัญ 3 ประการคือ
                      1. คุณลักษณะที่ต้องการวัด หมายถึง คุณลักษณะของสิ่งที่เราต้องการศึกษา เช่น ความสูง น้ำหนัก ความสามารถในวิชาคณิตศาสตร์ เป็นต้น
                2. เครื่องมือที่ใช้วัด เครื่องมือที่ใช้วัดนั้นมีมากมายหลายชนิด เช่น ไม้เมตร ตาชั่ง แบบทดสอบ เป็นต้น ทั้งนี้จะต้องเลือกเครื่องมือให้สอดคล้องกับคุณลักษณะที่ต้องการวัด
                        3. วิธีการที่ให้ผู้ถูกวัดแสดงพฤติกรรมออกมา
                        4. ผลที่ได้จากการวัด ผลที่ได้จากการวัดมักจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ ที่แทนลักษณะของสิ่งที่วัด เช่น สมชายสูง 160 เซนติเมตร หรือธิดาสอบวิชาภาษาไทยได้ 20 คะแนน เป็นต้น
ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการสอบสามารถเขียนเป็นสมการพีชคณิต ได้ดังนี้
               X= T+E  คะแนนที่สอบได้= คะแนนจริง + คะแนนที่เกิดจากความคลาดเคลื่อน

วันอาทิตย์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2555

แผนจัดการเรียนรู้วิชาห้องสมุด โรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน


โรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน อำเภอสว่างแดนดิน  จังหวัดสกลนคร
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย (การใช้ห้องสมุด) ท22206                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2553
แผนการเรียนรู้ที่  1  สัปดาห์ที่ 1-3     เรื่อง ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ   เวลา  3  ชั่วโมง
สอนวันที่  10  เดือน  พฤษภาคม  พ.ศ. 2553    ถึงวันที่  28  เดือน พฤษภาคม  พ.ศ. 2553

1.  ความเข้าใจที่คงทน
                ห้องสมุด นับเป็นสถาบันหนึ่งของสังคม ทำหน้าที่เก็บรวบรวมสารสนเทศ(Information) ที่บันทึกไว้ในสื่อประเภทต่าง ๆ ในยุคปฏิรูปการศึกษา ห้องสมุดถือเป็นหัวใจของการเรียนรู้ที่สำคัญในสังคมแห่งภูมิปัญญาและสังคมแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนในสถานศึกษาจะต้องศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงเป็นแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่มีส่วนสำคัญในการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนตามหลักสูตร เปรียบเสมือนคลังความรู้ที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ ด้าน ให้เป็นผู้รักการเรียนและสนใจเรียนรู้ตลอดชีวิต  เพื่อพัฒนาคนและสังคมให้สมบูรณ์แบบ

2.  มาตรฐานเนื้อหา
                2.1  ความหมายของห้องสมุด                 
                2.2  ความสำคัญของห้องสมุด                 
                2.3  ประโยชน์ของห้องสมุด               
                2.4  องค์ประกอบของห้องสมุด            
                2.5  วัตถุประสงค์ของห้องสมุด    
                2.6  ประเภทของห้องสมุด                
                2.7  ลักษณะของห้องสมุดที่ดี    
                2.8  บริการของห้องสมุด        
                2.9  ระเบียบปฏิบัติและมารยาทในการเข้าใช้ห้องสมุด
                2.10  แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ

 3.  มาตรฐานการปฏิบัติได้
                3.1  อธิบายความหมายของห้องสมุดได้                   
                3.2  บอกความสำคัญของห้องสมุดได้                      
                3.3  บอกประโยชน์ของห้องสมุดได้         
                3.4  บอกองค์ประกอบของห้องสมุดได้ถูกต้อง
                3.5  บอกวัตถุประสงค์ของห้องสมุดได้          
                3.6  จำแนกประเภทของห้องสมุดได้         
                3.7  อธิบายถึงลักษณะของห้องสมุดที่ดีได้                
                3.8  สามารถใช้บริการของห้องสมุดได้ตรงตามความต้องการ               
                3.9  ปฏิบัติตนได้ถูกต้องเมื่อเข้าใช้ห้องสมุด
                3.10  ใช้แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในการค้นคว้าหาข้อมูลได้

4.  ทักษะข้ามวิชา
                1.  กระบวนการกลุ่ม
                2.  ทักษะการคิดวิเคราะห์
                3.  ทักษะการนำเสนอผลงาน

5.  คุณลักษณะที่พึงประสงค์
                5.1  ทำงานอย่างเป็นระบบ
                5.2  มีระเบียบวินัย
                5.3  มีความรับผิดชอบ
                5.4  ความสนใจใฝ่รู้
                5.5  ความมีเหตุผล
               5.6  มีความเป็นประชาธิปไตย
 
6.  คำถามสำคัญ
                6.1  นักเรียนสามารถบอกความหมายของห้องสมุดได้อย่างไร                                                                 
                6.2  ห้องสมุดมีความสำคัญต่อการเรียนของนักเรียนอย่างไรบ้าง     
                6.3  นักเรียนได้รับประโยชน์อะไรบ้างจากห้องสมุด   
                6.4  ห้องสมุดมีองค์ประกอบอะไรบ้าง                          
                6.5  ห้องสมุดมีวัตถุประสงค์อะไรบ้าง                  
                6.6  ห้องสมุดแบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง                                       
                6.7  ลักษณะของห้องสมุดที่ดีมีลักษณะอย่างไร               
                6.8  นักเรียนใช้บริการอะไรบ้างจากห้องสมุด                                            
                6.9  เมื่อนักเรียนเข้าใช้ห้องสมุดนักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไรบ้าง
                6.10  นอกจากค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากห้องสมุดแล้วนักเรียนสามารถใช้แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ จากที่ใดบ้าง

7.  กิจกรรมการเรียนรู้
คาบเรียนที่  1
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท 22206 หน่วยการเรียนรู้ที่  1  เรื่อง  ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อเป็นการทดสอบความรู้นักเรียน  ก่อนเรียน  ใช้เวลา  15  นาที
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน        
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูสนทนากับนักเรียนถึงห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ  ที่ไม่ใช่ห้องสมุด  
                     -  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม ๆ ละเท่า ๆ กัน  และส่งตัวแทนกลุ่มออกมา จับสลากรับหัวข้อในการศึกษาตามหัวข้อที่กำหนด   และรับใบความรู้ในการแบ่งกลุ่มให้นักเรียน  แต่ละกลุ่มนำไปศึกษา  พร้อมหัวข้อในการศึกษาของแต่ละกลุ่มดังนี้
                กลุ่มที่  1  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ความหมายของห้องสมุด                 
                                  -  ความสำคัญของห้องสมุด                 
                                  -  ประโยชน์ของห้องสมุด  
                กลุ่มที่  2  หัวข้อที่ได้รับ           
                                   -  องค์ประกอบของห้องสมุด            
                                   -  วัตถุประสงค์ของห้องสมุด  
                กลุ่มที่  3  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  ประเภทของห้องสมุด               
                                   -  ลักษณะของห้องสมุดที่ดี  
                กลุ่มที่  4  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  บริการของห้องสมุด        
                                   -  ระเบียบปฏิบัติและมารยาทในการเข้าใช้ห้องสมุด
                กลุ่มที่  5  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนและเตรียมการนำเสนอหน้าชั้นเรียน  โดยเขียนสรุปรายละเอียดในแต่ละหัวข้อเป็นแบบสรุปของแต่ละกลุ่มตามความคิดของกลุ่มว่าจะเขียนเป็นแผนผังความคิด  วาดภาพ  หรือสรุปเป็นหัวข้อสั้น ๆ แต่ได้ใจความ  ให้สามารถนำเสนอผลการศึกษาที่เข้าใจง่ายลงในกระดาษรายงาน  เพื่อนำเสนอในคาบเรียนต่อไป
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนในการจัดป้ายนิเทศตามหัวข้อเรื่องที่กลุ่มได้รับ  เพื่อนำไปจัดแสดงไว้ที่ป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการที่จะอภิปรายว่าได้รับความรู้อะไรบ้าง ในการช่วยกันศึกษาหาความรู้ตามกลุ่มที่ได้รับ  วางแผนในการเสนอผลงานร่วมกัน
                4.  ขั้นสรุป
                     -  ครูร่วมกันกับนักเรียนสรุปถึงการวางแผนในการที่จะนำเสนอผลงานกลุ่มในคาบเรียนต่อไป
                     -  ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละคนนำสมุดประจำวิชามาในคาบเรียนต่อไปทุกคน เพื่อจดบันทึกการรายงานกลุ่มตน  และกลุ่มเพื่อนลงในสมุดของตนเอง
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนไปศึกษาเรื่องห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในหัวข้อที่แต่ละกลุ่ม ได้รับมาล่วงหน้าจากหนังสือในห้องสมุดหรือค้นคว้าจากแหล่งความรู้ Internet
                     -  ให้นักเรียนทุกคนเขียนสรุปความรู้ลงในสมุดรายวิชาตามความเข้าใจของตนเอง
คาบเรียนที่ 2 และ คาบเรียนที่ 3
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูพูดคุยซักถามนักเรียนถึงการไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลของแต่ละกลุ่ม
                     -  นักเรียนตอบคำถามของครูตามที่นักเรียนได้ไปศึกษาค้นคว้ามา
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูให้หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม  ออกมาจับสลากลำดับการออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามที่ได้วางแผนไว้แล้วในคาบเรียนที่ผ่านมา
                     -  นักเรียนกลุ่มที่ 1  ออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่กลุ่มได้รับโดยการส่งตัวแทนกลุ่มที่เพื่อนๆ ให้รับผิดชอบเรื่องการรายงานออกมารายงาน
                     -   ให้แต่ละกลุ่มรักษาเวลาในการรายงานกลุ่มละ  5  นาที
                    -   เมื่อจบการรายงานแต่ละกลุ่มก็ให้กลุ่มต่อไปที่จับสลากได้ออกมารายงานต่อ จนครบ 5 กลุ่มตามลำดับที่กลุ่มจับสลากได้
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้ที่แต่ละกลุ่มออกมารายงานลงในสมุดของตนตาม         ความเข้าใจของแต่ละคน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำป้ายนิเทศไปจัดแสดงไว้ที่หน้าชั้นเรียนหลังจากรายงานกลุ่มเรียบร้อยแล้ว                     
                4.  ขั้นสรุป
                     -  นักเรียนแต่ละกลุ่มเปิดโอกาสให้เพื่อนๆ  ได้ซักถาม
                     -  นักเรียนในกลุ่มช่วยกันตอบคำถาม  และครูช่วยสรุปในตอนท้ายอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
                    - นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด ท 22206ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท 22206 หน่วยการเรียนรู้ที่  1  เรื่อง  ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ   ใช้เวลา  15  นาที
                 5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนกลับไปอ่านศึกษาทบทวนเพิ่มเติม  เพื่อนำไปทำแบบฝึกหัดทบทวนหลังจากเรียนจบเรื่องนี้แล้ว
                     -  ให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องในการทำแบบทดสอบในภาคผนวก  เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง

8.  สื่อการจัดการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
                1.  หนังสือ  ตำราวิชาการต่าง ๆ  ในห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน
                2.  เอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท 22206 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ      
แหล่งเรียนรู้
                1.  ห้องคอมพิวเตอร์ 1, 2
                2.  ห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

9.  หลักฐานและวิธีการประเมิน
หลักฐาน วิธีการประเมิน
1.  แบบประเมินการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
2.  แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
3.  แบบฝึกหัดทบทวน ตรวจแบบฝึกหัด 
4.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์  แบบทดสอบก่อนเรียน  และแบบทดสอบหลังเรียน




บันทึกการตรวจแผนการจัดกิจกรรมก่อนนำไปใช้
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ฝ่ายวิชาการ
                                                                                             ( นางขวัญใจ    งอกงาม )
............/............................./..............

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

นักเรียนทุกคนสนุกสนาน และให้ความสนใจ กับห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้สารนิเทศ ครูให้ดูรูปภาพห้องต่างๆ และพากันตอบคำถามเกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญ วิธีการใช้ห้องสมุดที่ถูกต้อง ประโยชน์และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ได้

ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้

นักเรียนบางคนยังไม่เข้าใจถึงวิธีการใช้ห้องสมุดที่ถูกต้อง

แนวทางในการแก้ไข

ครูอธิบายเพิ่มเต็มและให้ทำใบงานส่ง

ลงชื่อ.............................................ผู้สอน
                                                                                                   ( นายชูเกียรติ    ดวงผุย )
    ............/............................./..............
ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
                                                                                                      ( นางสาวรัตนา   ฮุงหวล)
               ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

โรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน อำเภอสว่างแดนดิน  จังหวัดสกลนคร
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย (การใช้ห้องสมุด) ท22206                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2553
แผนการเรียนรู้ที่  2  สัปดาห์ที่ 4-6      เรื่อง  วัสดุห้องสมุด     เวลา  3  ชั่วโมง
สอนวันที่  31  เดือน  พฤษภาคม  พ.ศ. 2553    ถึงวันที่  18   เดือน  มิถุนายน  พ.ศ. 2553

1.  ความเข้าใจที่คงทน
                วัสดุห้องสมุด  หมายถึง  วัสดุที่ใช้เพื่อการอ่านและการศึกษาค้นคว้าทุกรูปแบบ  ทุกสาขาวิชา  ซึ่งห้องสมุดได้จัดหามา  และจัดเก็บรวบรวมเอาไว้เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ในห้องสมุด  ได้แก่  วัสดุประเภทตีพิมพ์  และวัสดุประเภทไม่ใช่สิ่งพิมพ์

 2.  มาตรฐานเนื้อหา
                2.1  ความหมายของวัสดุห้องสมุด              
                2.2  ประโยชน์ของวัสดุห้องสมุด          
                2.3  ประเภทของวัสดุห้องสมุด            
                2.4  วัสดุประเภทสิ่งพิมพ์      
                2.5  วัสดุประเภทที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์           
                2.6  การระวังรักษาวัสดุห้องสมุด
              
3.  มาตรฐานการปฏิบัติได้
                3.1  อธิบายความหมายของวัสดุห้องสมุดได้               
                3.2  บอกประโยชน์ของวัสดุห้องสมุดได้
                3.3  จำแนกประเภทของวัสดุห้องสมุดได้       
                3.4  จำแนกวัสดุประเภทสิ่งพิมพ์ได้                 
                3.5  จำแนกวัสดุประเภทที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์ได้          
                3.6  บอกวิธีการระวังรักษาวัสดุห้องสมุดได้                 

4.  ทักษะข้ามวิชา
                1.  กระบวนการกลุ่ม
                2.  ทักษะการคิดวิเคราะห์
                3.  ทักษะการนำเสนอผลงาน

5.  คุณลักษณะที่พึงประสงค์
                5.1  ทำงานอย่างเป็นระบบ
                5.2  มีระเบียบวินัย
                5.3  มีความรับผิดชอบ
                5.4  ความสนใจใฝ่รู้
                5.5  ความมีเหตุผล
                5.6  มีความเป็นประชาธิปไตย

6.  คำถามสำคัญ
                6.1  นักเรียนทราบหรือไม่ว่าวัสดุห้องสมุดมีความหมายว่าอย่างไร                                                                                                     
                6.2  วัสดุห้องสมุดมีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไรบ้าง           
                6.3  นักเรียนบอกได้ไหมว่าวัสดุห้องสมุดแบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง
                6.4  นักเรียนสามารถจำแนกได้ไหมว่าวัสดุใดบ้างที่เป็นวัสดุประเภทสิ่งพิมพ์
                6.5  นักเรียนสามารถจำแนกได้ไหมว่าวัสดุใดบ้างที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์
                6.6  นักเรียนสามารถอธิบายได้หรือไม่ว่าวัสดุห้องสมุดมีวิธีการระวังรักษาอย่างไร

7.  กิจกรรมการเรียนรู้
คาบเรียนที่  1 และ คาบเรียนที่ 2
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้ที่  2  เรื่อง  วัสดุห้องสมุด  เพื่อเป็นการทดสอบความรู้นักเรียนก่อนเรียน  ใช้เวลา  15  นาที
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน  
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูสนทนากับนักเรียนถึงห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ  ที่ไม่ใช่ห้องสมุด 
                     -  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม  ๆ ละเท่า ๆ กัน  และส่งตัวแทนกลุ่มออกมา จับสลากรับหัวข้อในการศึกษาตามหัวข้อที่กำหนด   และรับใบความรู้ในการแบ่งกลุ่มให้นักเรียน แต่ละกลุ่มนำไปศึกษา  พร้อมหัวข้อในการศึกษาของแต่ละกลุ่มดังนี้
                กลุ่มที่  1  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ความหมายของวัสดุห้องสมุด              
                                  -  ประโยชน์ของวัสดุห้องสมุด               
                กลุ่มที่  2  หัวข้อที่ได้รับ           
                                   -  วัสดุประเภทสิ่งพิมพ์                 
                กลุ่มที่  3  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  วัสดุประเภทที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์            
                กลุ่มที่  4  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  สื่ออิเล็กทรอนิกส์           
                กลุ่มที่  5  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  วิธีการระวังรักษาวัสดุห้องสมุด
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนและเตรียมการนำเสนอหน้าชั้นเรียน  โดยเขียนสรุปรายละเอียดในแต่ละหัวข้อเป็นแบบสรุปของแต่ละกลุ่มตามความคิดของกลุ่มว่าจะเขียนเป็นแผนผังความคิด  วาดภาพ  หรือสรุปเป็นหัวข้อสั้น ๆ แต่ได้ใจความ  ให้สามารถนำเสนอผลการศึกษาที่เข้าใจง่ายลงในกระดาษรายงาน  เพื่อนำเสนอในคาบเรียนต่อไป
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนในการจัดป้ายนิเทศตามหัวข้อเรื่องที่กลุ่มได้รับ  เพื่อนำไปจัดแสดงไว้ที่ป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการที่จะอภิปรายว่าได้รับความรู้อะไรบ้าง          ในการช่วยกันศึกษาหาความรู้ตามกลุ่มที่ได้รับ  วางแผนในการเสนอผลงานร่วมกัน
                 4.  ขั้นสรุป
                     -  ครูร่วมกันกับนักเรียนสรุปถึงการวางแผนในการที่จะนำเสนอผลงานกลุ่มในคาบเรียนต่อไป
                     -  ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละคนนำสมุดประจำวิชามาในคาบเรียนต่อไปทุกคน            เพื่อจดบันทึกการรายงานกลุ่มตน  และกลุ่มเพื่อนลงในสมุดของตนเอง
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนไปศึกษาเรื่องห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในหัวข้อที่แต่ละกลุ่ม ได้รับมาล่วงหน้าจากหนังสือในห้องสมุดหรือค้นคว้าจากแหล่งความรู้ Internet
                     -  ให้นักเรียนทุกคนเขียนสรุปความรู้ลงในสมุดรายวิชาตามความเข้าใจของตนเอง

คาบเรียนที่ 3
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูพูดคุยซักถามนักเรียนถึงการไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลของแต่ละกลุ่ม
                     -  นักเรียนตอบคำถามของครูตามที่นักเรียนได้ไปศึกษาค้นคว้ามา
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูให้หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม  ออกมาจับสลากลำดับการออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามที่ได้วางแผนไว้แล้วในคาบเรียนที่ผ่านมา
                     -  นักเรียนกลุ่มที่ 1  ออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่กลุ่มได้รับโดยการส่งตัวแทนกลุ่มที่เพื่อนๆ ให้รับผิดชอบเรื่องการรายงานออกมารายงาน
                     -   ให้แต่ละกลุ่มรักษาเวลาในการรายงานกลุ่มละ  5  นาที
                     -   เมื่อจบการรายงานแต่ละกลุ่มก็ให้กลุ่มต่อไปที่จับสลากได้ออกมารายงานต่อ  จนครบ         5   กลุ่มตามลำดับที่กลุ่มจับสลากได้
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้ที่แต่ละกลุ่มออกมารายงานลงในสมุดของตนตาม         ความเข้าใจของแต่ละคน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำป้ายนิเทศไปจัดแสดงไว้ที่หน้าชั้นเรียนหลังจากรายงานกลุ่มเรียบร้อยแล้ว          
                4.  ขั้นสรุป
                     -  นักเรียนแต่ละกลุ่มเปิดโอกาสให้เพื่อนๆ  ได้ซักถาม
                     -  นักเรียนในกลุ่มช่วยกันตอบคำถาม  และครูช่วยสรุปในตอนท้ายอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด            ท22206 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้ที่  2  เรื่อง  วัสดุห้องสมุด  ใช้เวลา  15  นาที
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนกลับไปอ่านศึกษาทบทวนเพิ่มเติม  เพื่อนำไปทำแบบฝึกหัดทบทวนหลังจากเรียนจบเรื่องนี้แล้ว
                     -  ให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องในการทำแบบทดสอบในภาคผนวก  เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง

8.  สื่อการจัดการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
                1.  หนังสือ  ตำราวิชาการต่าง ๆ  ในห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน
                2.  เอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระ              การเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้ที่  2  เรื่อง  วัสดุห้องสมุด
แหล่งเรียนรู้
                1.  ห้องคอมพิวเตอร์ 1, 2
                2.  ห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

9.  หลักฐานและวิธีการประเมิน
หลักฐาน วิธีการประเมิน
                1.  แบบประเมินการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
                2.  แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                3.  แบบฝึกหัดทบทวน ตรวจแบบฝึกหัด 
                4.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์  แบบทดสอบก่อนเรียน  และแบบทดสอบหลังเรียน


























บันทึกการตรวจแผนการจัดกิจกรรมก่อนนำไปใช้
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ฝ่ายวิชาการ
                                                                                             ( นางขวัญใจ  งอกงาม )
............/............................./..............

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
               
นักเรียนทุกคนให้ความร่วมมือในการเรียนการสอนดีมาก มีความสนุกสนาน อีกทังยังสามารถบรรยายถึงวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในห้องสมุดได้ เช่น วัสดุตรีพิมพ์ ไม่ตรีพิมพ์
 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร สามรถอธิบายวิธีการระวังรักษาวัสดุห้องสมุด ได้

ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
               
มีนักเรียนชายบางกลุ่มคุยกันเสียงดัง

แนวทางในการแก้ไข
               
ครูให้นักเรียนกลุ่มนั้นย้ายที่มานั่งใกล้ๆ ครู

ลงชื่อ.............................................ผู้สอน
                                                                                                   ( นายชูเกียรติ    ดวงผุย )
    ............/............................./..............
ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
                                                                                                      ( นางสาวรัตนา   ฮุงหวล)
               ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

โรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน อำเภอสว่างแดนดิน  จังหวัดสกลนคร
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย (การใช้ห้องสมุด) ท22206                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2553
แผนการเรียนรู้ที่  3  สัปดาห์ที่  7-8   เรื่อง  การจัดหมวดหมู่หนังสือ    เวลา  3  ชั่วโมง
สอนวันที่  21  เดือน  มิถุนายน  พ.ศ. 2553    ถึงวันที่  9   เดือน  กรกฎาคม  พ.ศ. 2553

1.  ความเข้าใจที่คงทน
            การจัดหมวดหมู่หนังสือ  เป็นการจัดหนังสืออย่างมีแบบแผน  โดยจัดหนังสือที่มี เนื้อเรื่องเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันไว้ด้วยกัน แล้วใช้สัญลักษณ์แทนเพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการค้นหาหนังสือ ซึ่งมีอยู่หลายระบบด้วยกัน  แต่ทีนิยมใช้สำหรับห้องสมุดโรงเรียนคือระบบทศนิยมของดิวอี้  และห้องสมุดมหาวิทยาลัยคือระบบรัฐสภาอเมริกัน

2.  มาตรฐานเนื้อหา
                2.1  ความหมายของการจัดหมวดหมู่หนังสือ       
                2.2  ความสำคัญของการจัดหมวดหมู่หนังสือ        
                2.3  ประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่หนังสือ     
                2.4  ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือที่ควรทราบ  
                2.5  การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้
                2.6  การจัดหมู่หนังสือที่ไม่ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์
                2.7  การจัดหมู่หนังสือระบบรัฐสภาอเมริกัน
                2.8  เลขเรียกหนังสือ            
                2.9  การจัดเรียงหนังสือบนชั้น

3.  มาตรฐานการปฏิบัติได้
                3.1  อธิบายความหมายของการจัดหมวดหมู่หนังสือได้ถูกต้อง
                3.2  บอกความสำคัญของการจัดหมวดหมู่หนังสือได้            
                3.3  บอกประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่หนังสือได้
                3.4  บอกระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือที่ควรทราบได้
                3.5  อธิบายวิธีการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ได้
                3.6  อธิบายวิธีการจัดหมู่หนังสือโดยไม่ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ได้
                3.7  อธิบายวิธีการจัดหมู่หนังสือระบบรัฐสภาอเมริกันได้         
                3.8  อธิบายเกี่ยวกับเลขเรียกหนังสือได้ถูกต้อง
               3.9  สามารถอธิบายวิธีการจัดเรียงหนังสือบนชั้นได้อย่างถูกต้อง

4.  ทักษะข้ามวิชา
                1.  กระบวนการกลุ่ม
                2.  ทักษะการคิดวิเคราะห์
                3.  ทักษะการนำเสนอผลงาน

5.  คุณลักษณะที่พึงประสงค์
                5.1  ทำงานอย่างเป็นระบบ
                5.2  มีระเบียบวินัย
                5.3  มีความรับผิดชอบ
                5.4  ความสนใจใฝ่รู้
                5.5  ความมีเหตุผล
                5.6  มีความเป็นประชาธิปไตย

6.  คำถามสำคัญ
                6.1  นักเรียนสามารถบอกได้หรือไม่ว่าการจัดหมวดหมู่หนังสือมีความหมายว่าอย่างไรบ้าง                                                                                     
                6.2  การจัดหมวดหมู่หนังสือมีความสำคัญต่อนักเรียนอย่างไรบ้าง      
                6.3  การจัดหมวดหมู่หนังสือในห้องสมุดมีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไรบ้าง
                6.4  นักเรียนทราบหรือไม่ว่าระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือมีกี่ระบบอะไรบ้าง
                6.5  การจัดหมวดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้มีวิธีการจัดอย่างไรและใช้สัญลักษณ์อะไรในการจัด
                6.6  การจัดหมวดหมู่หนังสือโดยไม่ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์เป็นอย่างไรจงอธิบาย                     
                6.7  การจัดหมวดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันมีวิธีการจัดอย่างไรและใช้สัญลักษณ์อะไรในการจัด
                6.8  นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเลขเรียกหนังสือประกอบไปด้วยอะไรบ้าง                    
                6.9  นักเรียนสามารถอธิบายได้หรือไม่ว่าห้องสมุดมีวิธีการจัดเรียงหนังสือบนชั้นอย่างไร
 



7.  กิจกรรมการเรียนรู้
คาบเรียนที่  1 และคาบเรียนที่ 2
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย   หน่วยการเรียนรู้ที่  3  เรื่อง  การจัดหมวดหมู่หนังสือ  เพื่อเป็นการทดสอบความรู้นักเรียนก่อนเรียน  ใช้เวลา  15  นาที
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน        
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูสนทนากับนักเรียนถึงห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ  ที่ไม่ใช่ห้องสมุด 
                     -  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม  ๆ ละเท่า ๆ กัน  และส่งตัวแทนกลุ่มออกมาจับสลากรับหัวข้อในการศึกษาตามหัวข้อที่กำหนด   และรับใบความรู้ในการแบ่งกลุ่มให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำไปศึกษา  พร้อมหัวข้อในการศึกษาของแต่ละกลุ่มดังนี้
                กลุ่มที่  1  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ความหมายของการจัดหมวดหมู่หนังสือ       
                                  -  ความสำคัญของการจัดหมวดหมู่หนังสือ
                                  -  เลขเรียกหนังสือ            
                กลุ่มที่  2  หัวข้อที่ได้รับ           
                                   -  ประโยชน์ของการจัดหมวดหมู่หนังสือ     
                                   -  ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือที่ควรทราบ  
                กลุ่มที่  3  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้
                กลุ่มที่  4  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  การจัดหมู่หนังสือที่ไม่ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์
                                   -  การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
                กลุ่มที่  5  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  การจัดหมู่หนังสือระบบรัฐสภาอเมริกัน
 
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนและเตรียมการนำเสนอหน้าชั้นเรียน  โดยเขียนสรุปรายละเอียดในแต่ละหัวข้อเป็นแบบสรุปของแต่ละกลุ่มตามความคิดของกลุ่มว่าจะเขียนเป็นแผนผังความคิด  วาดภาพ  หรือสรุปเป็นหัวข้อสั้น ๆ แต่ได้ใจความ  ให้สามารถนำเสนอผลการศึกษาที่เข้าใจง่ายลงในกระดาษรายงาน  เพื่อนำเสนอในคาบเรียนต่อไป
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนในการจัดป้ายนิเทศตามหัวข้อเรื่องที่กลุ่มได้รับ  เพื่อนำไปจัดแสดงไว้ที่ป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการที่จะอภิปรายว่าได้รับความรู้อะไรบ้าง          ในการช่วยกันศึกษาหาความรู้ตามกลุ่มที่ได้รับ  วางแผนในการเสนอผลงานร่วมกัน
                4.  ขั้นสรุป
                     -  ครูร่วมกันกับนักเรียนสรุปถึงการวางแผนในการที่จะนำเสนอผลงานกลุ่มในคาบเรียนต่อไป
                     -  ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละคนนำสมุดประจำวิชามาในคาบเรียนต่อไปทุกคน            เพื่อจดบันทึกการรายงานกลุ่มตน  และกลุ่มเพื่อนลงในสมุดของตนเอง
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนไปศึกษาเรื่องห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในหัวข้อที่แต่ละกลุ่ม ได้รับมาล่วงหน้าจากหนังสือในห้องสมุดหรือค้นคว้าจากแหล่งความรู้ Internet
                     -  ให้นักเรียนทุกคนเขียนสรุปความรู้ลงในสมุดรายวิชาตามความเข้าใจของตนเอง

คาบเรียนที่ 3
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูพูดคุยซักถามนักเรียนถึงการไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลของแต่ละกลุ่ม
                     -  นักเรียนตอบคำถามของครูตามที่นักเรียนได้ไปศึกษาค้นคว้ามา
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูให้หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม  ออกมาจับสลากลำดับการออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามที่ได้วางแผนไว้แล้วในคาบเรียนที่ผ่านมา
                     -  นักเรียนกลุ่มที่ 1  ออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่กลุ่มได้รับโดยการส่งตัวแทนกลุ่มที่เพื่อนๆ ให้รับผิดชอบเรื่องการรายงานออกมารายงาน
                     -   ให้แต่ละกลุ่มรักษาเวลาในการรายงานกลุ่มละ  5  นาที
                     -   เมื่อจบการรายงานแต่ละกลุ่มก็ให้กลุ่มต่อไปที่จับสลากได้ออกมารายงานต่อ  จนครบ   5   กลุ่มตามลำดับที่กลุ่มจับสลากได้
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้ที่แต่ละกลุ่มออกมารายงานลงในสมุดของตนตาม         ความเข้าใจของแต่ละคน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำป้ายนิเทศไปจัดแสดงไว้ที่หน้าชั้นเรียนหลังจากรายงานกลุ่มเรียบร้อยแล้ว                     
                4.  ขั้นสรุป
                     -  นักเรียนแต่ละกลุ่มเปิดโอกาสให้เพื่อนๆ  ได้ซักถาม
                     -  นักเรียนในกลุ่มช่วยกันตอบคำถาม  และครูช่วยสรุปในตอนท้ายอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด            ท22206 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้
ที่  3  เรื่อง  การจัดหมวดหมู่หนังสือ  ใช้เวลา  15  นาที
                 5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนกลับไปอ่านศึกษาทบทวนเพิ่มเติม  เพื่อนำไปทำแบบฝึกหัดทบทวนหลังจากเรียนจบเรื่องนี้แล้ว
                     -  ให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องในการทำแบบทดสอบในภาคผนวก  เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง

8.  สื่อการจัดการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
                1.  หนังสือ  ตำราวิชาการต่าง ๆ  ในห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน
                2.  เอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้ที่  3  เรื่อง  การจัดหมวดหมู่หนังสือ

แหล่งเรียนรู้
                1.  ห้องคอมพิวเตอร์ 1, 2
                2.  ห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

9.  หลักฐานและวิธีการประเมิน
หลักฐาน วิธีการประเมิน
                1.  แบบประเมินการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
                2.  แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                3.  แบบฝึกหัดทบทวน ตรวจแบบฝึกหัด 
                4.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์  แบบทดสอบก่อนเรียน  และแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ






บันทึกการตรวจแผนการจัดกิจกรรมก่อนนำไปใช้
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ฝ่ายวิชาการ
                                                                                             ( นางขวัญใจ  งอกงาม )
............/............................./..............

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
               
นักเรียนทุกคนมีความตั้งใจและให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนดีมาก ทุกคนมีความตั้งใจฟังครูบรรยาย เรื่องการจัดหมวดหมู่หนังสือแบบทศนิยมดิวอี้ หมวด ( 000 900 ) และมีการแบ่งกลุ่มศึกษาตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี

ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
               
นักเรียนบางคนยังไม่ค่อยเข้าใจในหมวดหมู่หนังสือที่ใช้ในห้องสมุด

แนวทางในการแก้ไข
               
ครูให้ทำใบงานเรื่องหมวดหมู่หนังสือเพิ่มเต็ม และสืบค้นผ่านอินเตอร์เน็ต

ลงชื่อ.............................................ผู้สอน
                                                                                                   ( นายชูเกียรติ    ดวงผุย )
    ............/............................./..............
ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
                                                                                                      ( นางสาวรัตนา   ฮุงหวล)
               ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

โรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน อำเภอสว่างแดนดิน  จังหวัดสกลนคร
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย (การใช้ห้องสมุด) ท22206                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2553
แผนการเรียนรู้ที่  4  สัปดาห์ที่  9-12   เรื่อง  บัตรรายการหนังสือ  เวลา  4  ชั่วโมง
สอนวันที่  12  เดือน  กรกฎาคม  พ.ศ. 2553    ถึงวันที่  6   เดือน  สิงหาคม  พ.ศ. 2553

1.  ความเข้าใจที่คงทน
                เพื่อให้การค้นหาสารนิเทศต่าง ๆ  ในห้องสมุดเป็นไปได้โดยสะดวกและรวดเร็ว  ห้องสมุด  ได้จัดทำเครื่องมือสำหรับให้ผู้ใช้เป็นเครื่องมือในการค้นหาสารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า  ซึ่งมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันไป  ขึ้นอยู่กับประเภทของวัสดุสารนิเทศ  และข้อมูลที่ใช้บันทึก  เครื่องมือที่ช่วยในการสืบค้นสารนิเทศสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือในห้องสมุดซึ่งเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป  คือบัตรรายการหนังสือ  มีขนาด  3" x 5"  ซึ่งเป็นเครื่องมือช่วยในการค้นหาหนังสือได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว         ใช้บันทึกรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับหนังสือ  เช่น  เลขเรียกหนังสือ  รายการทางบรรณานุกรม  รายการแนวสืบค้น  ซึ่งจัดเรียงไว้อย่างเป็นระบบตามชนิดของบัตรรายการนั้น ๆ        

2.  มาตรฐานเนื้อหา
                2.1  ความหมายของบัตรรายการ              
                2.2  ประวัติความเป็นมาของบัตรรายการในประเทศไทย
                2.3  วัตถุประสงค์ของการทำบัตรรายการ     
                2.4  ประโยชน์ของบัตรรายการ           
                2.5  บัตรรายการหนังสือ         
                2.6  ชนิดของบัตรรายการ                
                2.7  การเรียงบัตรรายการ      
              
3.  มาตรฐานการปฏิบัติได้
                3.1  อธิบายความหมายของบัตรรายการได้อย่างถูกต้อง
                3.2  บอกประวัติความเป็นมาของบัตรรายการในประเทศไทยได้ 
                3.3  บอกวัตถุประสงค์ในการทำบัตรรายการได้
                3.4  บอกประโยชน์ในการทำบัตรรายการได้
                3.5  บอกส่วนต่างๆของบัตรรายการหนังสือได้
                3.6  จำแนกชนิดบัตรรายการได้                       
                3.7  อธิบายวิธีการเรียงบัตรรายการได้อย่างถูกต้อง        

4.  ทักษะข้ามวิชา
                1.  กระบวนการกลุ่ม
                2.  ทักษะการคิดวิเคราะห์
                3.  ทักษะการนำเสนอผลงาน

5.  คุณลักษณะที่พึงประสงค์
                5.1  ทำงานอย่างเป็นระบบ
                5.2  มีระเบียบวินัย
                5.3  มีความรับผิดชอบ
                5.4  ความสนใจใฝ่รู้
                5.5  ความมีเหตุผล
                5.6  มีความเป็นประชาธิปไตย

6.  คำถามสำคัญ
                6.1  นักเรียนรู้หรือไม่ว่าบัตรรายการมีความหมายว่าอย่างไร                                 
                6.2  นักเรียนรู้หรือไม่ว่าบัตรรายการมีประวัติความเป็นมาในประเทศไทยอย่างไร
                6.3  นักเรียนรู้หรือไม่วัตถุประสงค์ในการทำบัตรรายการมีอะไรบ้าง
                6.4  บัตรรายการมีประโยชน์ต่อการใช้ห้องสมุดของนักเรียนอย่างไรบ้าง   
                6.5  บัตรรายการหนังสือมีลักษณะและส่วนประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
                6.6  บัตรรายการมีกี่ชนิดอะไรบ้าง
                6.7  บัตรรายการมีวิธีการเรียงที่ถูกต้องอย่างไรบ้าง             
  
7.  กิจกรรมการเรียนรู้
คาบเรียนที่  1 และคาบเรียนที่ 2
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เรื่อง  บัตรรายการหนังสือ  เพื่อเป็นการทดสอบความรู้นักเรียนก่อนเรียน ใช้เวลา  15  นาที
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน        
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูสนทนากับนักเรียนถึงห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ  ที่ไม่ใช่ห้องสมุด 
                     -  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม  ๆ ละเท่า ๆ กัน  และส่งตัวแทนกลุ่มออกมา  จับสลากรับหัวข้อในการศึกษาตามหัวข้อที่กำหนด   และรับใบความรู้ในการแบ่งกลุ่มให้นักเรียน แต่ละกลุ่มนำไปศึกษา  พร้อมหัวข้อในการศึกษาของแต่ละกลุ่มดังนี้
                กลุ่มที่  1  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ความหมายของบัตรรายการ              
                                  -  วัตถุประสงค์ของการทำบัตรรายการ      
                กลุ่มที่  2  หัวข้อที่ได้รับ           
                                   -  ประวัติความเป็นมาของบัตรรายการในประเทศไทย
                กลุ่มที่  3  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  ประโยชน์ของบัตรรายการ            
                                   -  บัตรรายการหนังสือ         
                กลุ่มที่  4  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  ชนิดของบัตรรายการ                
                                   -  การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
                กลุ่มที่  5  หัวข้อที่ได้รับ
                                   -  การเรียงบัตรรายการ      
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนและเตรียมการนำเสนอหน้าชั้นเรียน  โดยเขียนสรุปรายละเอียดในแต่ละหัวข้อเป็นแบบสรุปของแต่ละกลุ่มตามความคิดของกลุ่มว่าจะเขียนเป็นแผนผังความคิด  วาดภาพ  หรือสรุปเป็นหัวข้อสั้น ๆ แต่ได้ใจความ  ให้สามารถนำเสนอผลการศึกษาที่เข้าใจง่ายลงในกระดาษรายงาน  เพื่อนำเสนอในคาบเรียนต่อไป
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนในการจัดป้ายนิเทศตามหัวข้อเรื่องที่กลุ่มได้รับ  เพื่อนำไปจัดแสดงไว้ที่ป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการที่จะอภิปรายว่าได้รับความรู้อะไรบ้าง ในการช่วยกันศึกษาหาความรู้ตามกลุ่มที่ได้รับ  วางแผนในการเสนอผลงานร่วมกัน
                4.  ขั้นสรุป
                     -  ครูร่วมกันกับนักเรียนสรุปถึงการวางแผนในการที่จะนำเสนอผลงานกลุ่มในคาบเรียนต่อไป
                     -  ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละคนนำสมุดประจำวิชามาในคาบเรียนต่อไปทุกคน เพื่อจดบันทึกการรายงานกลุ่มตน  และกลุ่มเพื่อนลงในสมุดของตนเอง
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนไปศึกษาเรื่องห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในหัวข้อที่แต่ละกลุ่ม ได้รับมาล่วงหน้าจากหนังสือในห้องสมุดหรือค้นคว้าจากแหล่งความรู้ Internet
                     -  ให้นักเรียนทุกคนเขียนสรุปความรู้ลงในสมุดรายวิชาตามความเข้าใจของตนเอง
คาบเรียนที่ 3 และ คาบเรียนที่ 4
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูพูดคุยซักถามนักเรียนถึงการไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลของแต่ละกลุ่ม
                     -  นักเรียนตอบคำถามของครูตามที่นักเรียนได้ไปศึกษาค้นคว้ามา
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูให้หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม  ออกมาจับสลากลำดับการออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามที่ได้วางแผนไว้แล้วในคาบเรียนที่ผ่านมา
                     -  นักเรียนกลุ่มที่ 1  ออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่กลุ่มได้รับโดยการส่งตัวแทนกลุ่มที่เพื่อนๆ ให้รับผิดชอบเรื่องการรายงานออกมารายงาน
                     -   ให้แต่ละกลุ่มรักษาเวลาในการรายงานกลุ่มละ  5  นาที
                     -   เมื่อจบการรายงานแต่ละกลุ่มก็ให้กลุ่มต่อไปที่จับสลากได้ออกมารายงานต่อ  จนครบ           5   กลุ่มตามลำดับที่กลุ่มจับสลากได้
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้ที่แต่ละกลุ่มออกมารายงานลงในสมุดของตนตาม         ความเข้าใจของแต่ละคน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำป้ายนิเทศไปจัดแสดงไว้ที่หน้าชั้นเรียนหลังจากรายงานกลุ่มเรียบร้อยแล้ว                     
                4.  ขั้นสรุป
                     -  นักเรียนแต่ละกลุ่มเปิดโอกาสให้เพื่อนๆ  ได้ซักถาม
                     -  นักเรียนในกลุ่มช่วยกันตอบคำถาม  และครูช่วยสรุปในตอนท้ายอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด            ท22206 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เรื่อง  บัตรรายการหนังสือ   ใช้เวลา  15  นาที

                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนกลับไปอ่านศึกษาทบทวนเพิ่มเติม  เพื่อนำไปทำแบบฝึกหัดทบทวนหลังจากเรียนจบเรื่องนี้แล้ว
                     -  ให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องในการทำแบบทดสอบในภาคผนวก  เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง

8.  สื่อการจัดการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
                1.  หนังสือ  ตำราวิชาการต่าง ๆ  ในห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน
                2.  เอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เรื่อง  บัตรรายการหนังสือ 
แหล่งเรียนรู้
                1.  ห้องคอมพิวเตอร์ 1, 2
                2.  ห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

9.  หลักฐานและวิธีการประเมิน
หลักฐาน วิธีการประเมิน
                1.  แบบประเมินการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
                2.  แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                3.  แบบฝึกหัดทบทวน ตรวจแบบฝึกหัด 
                4.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์  แบบทดสอบก่อนเรียน  และแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ
















บันทึกการตรวจแผนการจัดกิจกรรมก่อนนำไปใช้
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ฝ่ายวิชาการ
                                                                                             ( นางขวัญใจ  งอกงาม )
............/............................./..............

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
               
                นักเรียนให้ความสนใจ ในการเรียนการสอนเป็นอย่างดี ทุกคนให้ความร่วมมือ ในเรื่องของการศึกษาเรื่องบัตรรายการ ในห้องสมุด มีการแบ่งกลุ่มอภิปราย ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
มีการทำบัตรรายการจำจอง ซึ่งในปัจจุบันบัตรรายไม่ค่อยพบเจอในห้องสมุด เพราะใช้ระบบสืบค้นแบบออนไลน์ ทางอินเทอร์เน็ต นักจึงมีความสนใจที่อยากจะศึกษา

ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
               
                นักเรียนบางกลุ่มทำบัตรรายหนังสือไม่ถูกต้องเท่าที่ควร

แนวทางในการแก้ไข
               
ครูให้ทำใบงานเรื่องบัตรรายการหนังสือ

ลงชื่อ.............................................ผู้สอน
                                                                                                   ( นายชูเกียรติ    ดวงผุย )
    ............/............................./..............
ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
                                                                                                      ( นางสาวรัตนา   ฮุงหวล)
               ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

โรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน อำเภอสว่างแดนดิน  จังหวัดสกลนคร
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย (การใช้ห้องสมุด) ท22206                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2553
แผนการเรียนรู้ที่  5  สัปดาห์ที่  13-16   เรื่อง  หนังสืออ้างอิง  เวลา  4  ชั่วโมง
สอนวันที่  9  เดือน  สิงหาคม  พ.ศ. 2553    ถึงวันที่  3   เดือน  กันยายน  พ.ศ. 2553

1.  ความเข้าใจที่คงทน
                หนังสืออ้างอิงเป็นหนังสือที่มีการจัดทำขึ้นเป็นพิเศษ  ให้ข้อเท็จจริงที่เชื่อถือได้  ใช้หาคำตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง  เขียนขึ้นโดยผู้ทรงคุณวุฒิและมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น ๆ  โดยเฉพาะ มีรูปแบบที่ง่าย  สะดวกแก่การใช้ค้นคว้า  มีการจัดเรียงลำดับเนื้อหาตามลำดับอักษรตามหัวข้อวิชา  ตามลำดับเหตุการณ์  หรือเรียงตามสภาพภูมิศาสตร์  มีส่วนช่วยอำนวยความสะดวกตามหัวข้อวิชา  ตามลำดับเหตุการณ์ หรือเรียงตามสภาพภูมิศาสตร์   มีส่วนช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้  คือ  อักษรนำเล่ม  คำนำทาง  ดรรชนีริมกระดาษ  หนังสืออ้างอิงเป็นเอกสารที่สำคัญที่สุด  ที่จะช่วยให้  งานเขียนเป็นที่น่าเชื่อถือ  และมีประสิทธิภาพสูงค่าอย่างยิ่ง

2.  มาตรฐานเนื้อหา
                2.1  ความหมายของหนังสืออ้างอิง             
                2.2  ความสำคัญของหนังสืออ้างอิง             
                2.3  ประโยชน์ของหนังสืออ้างอิง           
                2.4  ลักษณะของหนังสืออ้างอิง            
                2.5  การเรียบเรียงหนังสืออ้างอิง
                2.6  ส่วนช่วยในการค้นคว้าของหนังสืออ้างอิง
                2.7  ประเภทของหนังสืออ้างอิง
                       2.7.1  พจนานุกรม
                       2.7.2  สารานุกรม
                       2.7.3  หนังสือรายปี
                       2.7.4  หนังสือคู่มือ
                       2.7.5  นามานุกรม
                       2.7.6  อักขรานุกรมชีวประวัติ
                       2.7.7  หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์
                       2.7.8  สิ่งพิมพ์รัฐบาล
                       2.7.9  ดรรชนี
                       2.7.10  บรรณานุกรม
                2.8  ตารางสรุปเรื่องหนังสืออ้างอิง

3.  มาตรฐานการปฏิบัติได้
                3.1  อธิบายความหมายของหนังสืออ้างอิงได้อย่างถูกต้อง
                3.2  บอกความสำคัญของหนังสืออ้างอิงได้                  
                3.3  บอกประโยชน์ของหนังสืออ้างอิงได้
                3.4  บอกลักษณะของหนังสืออ้างอิงได้ถูกต้อง
                3.5  บอกวิธีการเรียบเรียงหนังสืออ้างอิงได้
                3.6  อธิบายวิธีการค้นคว้าจากส่วนช่วยค้นได้อย่างถูกต้อง
                3.7  บอกลักษณะและวิธีใช้หนังสืออ้างอิงแต่ละประเภทได้ถูกต้อง
                3.8  สรุปเรื่องหนังสืออ้างอิงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

4.  ทักษะข้ามวิชา
                1.  กระบวนการกลุ่ม
                2.  ทักษะการคิดวิเคราะห์
                3.  ทักษะการนำเสนอผลงาน

5.  คุณลักษณะที่พึงประสงค์
                5.1  ทำงานอย่างเป็นระบบ
                5.2  มีระเบียบวินัย
                5.3  มีความรับผิดชอบ
                5.4  ความสนใจใฝ่รู้
                5.5  ความมีเหตุผล
               5.6  มีความเป็นประชาธิปไตย
 
6.  คำถามสำคัญ
                6.1  หลังจากที่นักเรียนได้เรียนเรื่องหนังสืออ้างอิงนักเรียนสามารถบอกความหมายของหนังสืออ้างอิงได้ว่าอย่างไร                                                                   
                6.2  หนังสืออ้างอิงมีความสำคัญต่อการเรียนของนักเรียนอย่างไรบ้าง
                6.3  หนังสืออ้างอิงมีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไรบ้าง
                6.4  หนังสืออ้างอิงมีลักษณะแตกต่างจากหนังสือวิชาการอื่น ๆ  อย่างไรบ้าง
                6.5  หนังสืออ้างอิงมีวิธีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างไรจงอธิบาย
                6.6  เมื่อนักเรียนใช้หนังสืออ้างอิงมีวิธีการค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากหนังสืออ้างอิงอย่างไรจงอธิบาย
                6.7  หนังสืออ้างอิงแต่ละประเภทมีลักษณะและวิธีการใช้อย่างไรบ้าง
                6.8  จากการศึกษาเรื่องหนังสืออ้างอิงนักเรียนสามารถสรุปเรื่องราวเกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงได้ว่าอย่างไรบ้าง

7.  กิจกรรมการเรียนรู้
คาบเรียนที่  1 และคาบเรียนที่ 2
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่  5  เรื่อง  หนังสืออ้างอิง  เพื่อเป็นการทดสอบความรู้นักเรียนก่อนเรียน ใช้เวลา 15  นาที
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน        
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูสนทนากับนักเรียนถึงห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ  ที่ไม่ใช่ห้องสมุด 
                     -  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม  ๆ ละเท่า ๆ กัน  และส่งตัวแทนกลุ่มออกมา จับสลากรับหัวข้อในการศึกษาตามหัวข้อที่กำหนด   และรับใบความรู้ในการแบ่งกลุ่มให้นักเรียน แต่ละกลุ่มนำไปศึกษา  พร้อมหัวข้อในการศึกษาของแต่ละกลุ่มดังนี้
                กลุ่มที่  1  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ความหมายของหนังสืออ้างอิง             
                                  -  ความสำคัญของหนังสืออ้างอิง             
                                  -  ประโยชน์ของหนังสืออ้างอิง       
                กลุ่มที่  2  หัวข้อที่ได้รับ           
                                  -  ลักษณะของหนังสืออ้างอิง            
                                  -  การเรียบเรียงหนังสืออ้างอิง
                                   -  หนังสือรายปี
                                   -  หนังสือคู่มือ
                กลุ่มที่  3  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  อักขรานุกรมชีวประวัติ
                                  -  หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์
                                  -  สิ่งพิมพ์รัฐบาล
                กลุ่มที่  4  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ประเภทของหนังสืออ้างอิง
                                   -  พจนานุกรม
                                   -  สารานุกรม
                                   -  นามานุกรม
                กลุ่มที่  5  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ส่วนช่วยในการค้นคว้าของหนังสืออ้างอิง
                                   -  บรรณานุกรม
                                   -  ดรรชนี
                                   -  ตารางสรุปเรื่องหนังสืออ้างอิง
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนและเตรียมการนำเสนอหน้าชั้นเรียน  โดยเขียนสรุปรายละเอียดในแต่ละหัวข้อเป็นแบบสรุปของแต่ละกลุ่มตามความคิดของกลุ่มว่าจะเขียนเป็นแผนผังความคิด  วาดภาพ  หรือสรุปเป็นหัวข้อสั้น ๆ แต่ได้ใจความ  ให้สามารถนำเสนอผลการศึกษาที่เข้าใจง่ายลงในกระดาษรายงาน  เพื่อนำเสนอในคาบเรียนต่อไป
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนในการจัดป้ายนิเทศตามหัวข้อเรื่องที่กลุ่มได้รับ  เพื่อนำไปจัดแสดงไว้ที่ป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการที่จะอภิปรายว่าได้รับความรู้อะไรบ้าง  ในการช่วยกันศึกษาหาความรู้ตามกลุ่มที่ได้รับ  วางแผนในการเสนอผลงานร่วมกัน
                4.  ขั้นสรุป
                     -  ครูร่วมกันกับนักเรียนสรุปถึงการวางแผนในการที่จะนำเสนอผลงานกลุ่มในคาบเรียนต่อไป
                     -  ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละคนนำสมุดประจำวิชามาในคาบเรียนต่อไปทุกคน เพื่อจดบันทึกการรายงานกลุ่มตน  และกลุ่มเพื่อนลงในสมุดของตนเอง
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนไปศึกษาเรื่องห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในหัวข้อที่แต่ละกลุ่ม ได้รับมาล่วงหน้าจากหนังสือในห้องสมุดหรือค้นคว้าจากแหล่งความรู้ Internet
                     -  ให้นักเรียนทุกคนเขียนสรุปความรู้ลงในสมุดรายวิชาตามความเข้าใจของตนเอง

คาบเรียนที่ 3 และ คาบเรียนที่ 4
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูพูดคุยซักถามนักเรียนถึงการไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลของแต่ละกลุ่ม
                     -  นักเรียนตอบคำถามของครูตามที่นักเรียนได้ไปศึกษาค้นคว้ามา
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูให้หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม  ออกมาจับสลากลำดับการออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามที่ได้วางแผนไว้แล้วในคาบเรียนที่ผ่านมา
                     -  นักเรียนกลุ่มที่ 1  ออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่กลุ่มได้รับโดยการส่งตัวแทนกลุ่มที่เพื่อนๆ ให้รับผิดชอบเรื่องการรายงานออกมารายงาน
                     -   ให้แต่ละกลุ่มรักษาเวลาในการรายงานกลุ่มละ  5  นาที
                     -   เมื่อจบการรายงานแต่ละกลุ่มก็ให้กลุ่มต่อไปที่จับสลากได้ออกมารายงานต่อ  จนครบ           5   กลุ่มตามลำดับที่กลุ่มจับสลากได้
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้ที่แต่ละกลุ่มออกมารายงานลงในสมุดของตนตาม         ความเข้าใจของแต่ละคน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำป้ายนิเทศไปจัดแสดงไว้ที่หน้าชั้นเรียนหลังจากรายงานกลุ่มเรียบร้อยแล้ว        
                4.  ขั้นสรุป
                     -  นักเรียนแต่ละกลุ่มเปิดโอกาสให้เพื่อนๆ  ได้ซักถาม
                     -  นักเรียนในกลุ่มช่วยกันตอบคำถาม  และครูช่วยสรุปในตอนท้ายอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด            ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วย การเรียนรู้ที่  5  เรื่อง  หนังสืออ้างอิง  ใช้เวลา  15  นาที  
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนกลับไปอ่านศึกษาทบทวนเพิ่มเติม  เพื่อนำไปทำแบบฝึกหัดทบทวนหลังจากเรียนจบเรื่องนี้แล้ว
                     -  ให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องในการทำแบบทดสอบในภาคผนวก  เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง

8.  สื่อการจัดการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
                1.  หนังสือ  ตำราวิชาการต่าง ๆ  ในห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน
                2.  เอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้ที่  5  เรื่อง  หนังสืออ้างอิง
แหล่งเรียนรู้
                1.  ห้องคอมพิวเตอร์ 1, 2
                3.  ห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

9.  หลักฐานและวิธีการประเมิน
หลักฐาน วิธีการประเมิน
                1.  แบบประเมินการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
                2.  แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                3.  แบบฝึกหัดทบทวน ตรวจแบบฝึกหัด 
                4.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์  แบบทดสอบก่อนเรียน  และแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจ























บันทึกการตรวจแผนการจัดกิจกรรมก่อนนำไปใช้
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ฝ่ายวิชาการ
                                                                                             ( นางขวัญใจ  งอกงาม )
............/............................./..............

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
               
                                นักเรียนให้ความสนใจ ในการเรียนการสอนเป็นอย่างดี ทุกคนให้ความร่วมมือ ในเรื่องหนังสืออ้างอิงในห้องสมุด ว่ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง ลักษณะสำคัญของหนังสืออ้างอิง และมีความสำคัญอย่างไร ถึงไม่สามารถยืมออกจากห้องสมุดได้

ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
               
                -

แนวทางในการแก้ไข
               
                -

ลงชื่อ.............................................ผู้สอน
                                                                                                   ( นายชูเกียรติ    ดวงผุย )
    ............/............................./..............
ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
                                                                                                      ( นางสาวรัตนา   ฮุงหวล)
               ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน


โรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน อำเภอสว่างแดนดิน  จังหวัดสกลนคร
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย (การใช้ห้องสมุด) ท22206                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2553
แผนการเรียนรู้ที่  6  สัปดาห์ที่  17-21   เรื่อง การศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงาน  เวลา  5  ชั่วโมง
สอนวันที่  6  เดือน  กันยายน  พ.ศ. 2553    ถึงวันที่  1   เดือน  ตุลาคม  พ.ศ. 2553

1.  ความเข้าใจที่คงทน
                การศึกษาในปัจจุบัน  มุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักค้นคว้า  และมีความสนใจใฝ่หาความรู้ด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ   ในการศึกษาเกี่ยวกับการเขียนรายงานนั้น  ผู้เรียนจะต้องเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของรายงาน  ประเภทของรายงาน  จุดประสงค์ของการเขียนรายงาน  ลักษณะสำคัญของรายงานทางวิชาการ  การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน  การเขียนประโยค  รวมถึงการเขียนอ้างอิงในรายงาน

2.  มาตรฐานเนื้อหา
                2.1  ความหมายของรายงาน                 
                2.2  ประเภทของรายงาน                   
                2.3  วัตถุประสงค์และความสำคัญของรายงานทางวิชาการ
                2.4  ประเภทของรายงานทางวิชาการ      
                2.5  ลักษณะสำคัญของรายงานทางวิชาการ
                2.6  ลักษณะของรายงานทางวิชาการที่ดี
                2.7  ข้อบกพร่องที่พบบ่อยในการเขียนรายงาน
                2.8  ขั้นตอนการทำรายงาน        
                2.9  ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ

3.  มาตรฐานการปฏิบัติได้
                3.1  อธิบายความหมายของรายงานได้            
                3.2  จำแนกประเภทของรายงานได้                    
                3.3  บอกวัตถุประสงค์และความสำคัญของรายงานทางวิชาการได้
                3.4  จำแนกประเภทของรายงานทางวิชาการได้
                3.5  บอกลักษณะสำคัญของรายงานทางวิชาการได้
                3.6  บอกลักษณะของรายงานทางวิชาการที่ดีได้              
                3.7  บอกข้อบกพร่องที่พบบ่อยในการเขียนรายงานได้        
                3.8  สามารถทำรายงานทางวิชาการได้ถูกต้องตามขั้นตอน         
                3.9  สามารถเขียนรายงานทางวิชาการที่มีส่วนประกอบครบถ้วน

4.  ทักษะข้ามวิชา
                1.  กระบวนการกลุ่ม
                2.  ทักษะการคิดวิเคราะห์
                3.  ทักษะการนำเสนอผลงาน

5.  คุณลักษณะที่พึงประสงค์
                5.1  ทำงานอย่างเป็นระบบ
                5.2  มีระเบียบวินัย
                5.3  มีความรับผิดชอบ
                5.4  ความสนใจใฝ่รู้
                5.5  ความมีเหตุผล
                5.6  มีความเป็นประชาธิปไตย

6.  คำถามสำคัญ
                6.1  หลังจากที่นักเรียนได้เรียนเรื่องการศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงานนักเรียนสามารถบอกความหมายของรายงานได้                                                                                          
                6.2  นักเรียนทราบหรือไม่ว่ารายงานมีกี่ประเภทอะไรบ้าง      
                6.3  การทำรายงานทางวิชาการมีวัตถุประสงค์และความสำคัญอย่างไรบ้าง
                6.4  นักเรียนทราบหรือไม่ว่ารายงานทางวิชาการแบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง
                6.5  นักเรียนทราบหรือไม่ว่าลักษณะสำคัญของรายงานทางวิชาการนั้นเป็นอย่างไร
                6.6  นักเรียนบอกได้หรือไม่ว่าลักษณะของรายงานทางวิชาการที่ดีนั้นเป็นอย่างไร              
                6.7  ในการเขียนรายงานทางวิชาการนั้นมีข้อบกพร่องอะไรบ้างจงอธิบาย
                6.8  นักเรียนสามารถเขียนรายงานทางวิชาการได้ตามขั้นตอนที่กำหนดหรือไม่อย่างไร                     
                6.9  ในการเขียนรายงานทางวิชาการของนักเรียนมีส่วนประกอบครบถ้วนหรือไม่อย่างไร




7.  กิจกรรมการเรียนรู้
คาบเรียนที่  1 และ คาบเรียนที่ 2 และคาบเรียนที่ 3
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่  6  เรื่อง  การศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงาน  เพื่อเป็นการทดสอบความรู้นักเรียนก่อนเรียน ใช้เวลา   15  นาที
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน        
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูสนทนากับนักเรียนถึงห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ  ที่ไม่ใช่ห้องสมุด 
                     -  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม  ๆ ละเท่า ๆ กัน  และส่งตัวแทนกลุ่มออกมา  จับสลากรับหัวข้อในการศึกษาตามหัวข้อที่กำหนด   และรับใบความรู้ในการแบ่งกลุ่มให้นักเรียน แต่ละกลุ่มนำไปศึกษา  พร้อมหัวข้อในการศึกษาของแต่ละกลุ่มดังนี้
                กลุ่มที่  1  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ความหมายของรายงาน
                                  -  ประเภทของรายงาน                   
                                   -  เขียนรายงานเรื่องที่กลุ่มสนใจ
                กลุ่มที่  2  หัวข้อที่ได้รับ           
                                  -  ลักษณะสำคัญของรายงานทางวิชาการ
                                  -  ลักษณะของรายงานทางวิชาการที่ดี
                                  -  เขียนรายงานเรื่องที่กลุ่มสนใจ
                กลุ่มที่  3  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ข้อบกพร่องที่พบบ่อยในการเขียนรายงาน
                                  -  เขียนรายงานเรื่องที่กลุ่มสนใจ
                กลุ่มที่  4  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ขั้นตอนการทำรายงาน        
                                  -  เขียนรายงานเรื่องที่กลุ่มสนใจ
                กลุ่มที่  5  หัวข้อที่ได้รับ
                                  -  ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ
                                  -  เขียนรายงานเรื่องที่กลุ่มสนใจ
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนและเตรียมการนำเสนอหน้าชั้นเรียน  โดยเขียนสรุปรายละเอียดในแต่ละหัวข้อเป็นแบบสรุปของแต่ละกลุ่มตามความคิดของกลุ่มว่าจะเขียนเป็นแผนผังความคิด  วาดภาพ  หรือสรุปเป็นหัวข้อสั้น ๆ แต่ได้ใจความ  ให้สามารถนำเสนอผลการศึกษาที่เข้าใจง่ายลงในกระดาษรายงาน  เพื่อนำเสนอในคาบเรียนต่อไป
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนในการจัดป้ายนิเทศตามหัวข้อเรื่องที่กลุ่มได้รับ  เพื่อนำไปจัดแสดงไว้ที่ป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการที่จะอภิปรายว่าได้รับความรู้อะไรบ้าง ในการช่วยกันศึกษาหาความรู้ตามกลุ่มที่ได้รับ  วางแผนในการเสนอผลงานร่วมกัน
                4.  ขั้นสรุป
                     -  ครูร่วมกันกับนักเรียนสรุปถึงการวางแผนในการที่จะนำเสนอผลงานกลุ่มในคาบเรียนต่อไป
                     -  ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละคนนำสมุดประจำวิชามาในคาบเรียนต่อไปทุกคน เพื่อจดบันทึกการรายงานกลุ่มตน  และกลุ่มเพื่อนลงในสมุดของตนเอง
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนไปศึกษาเรื่องห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในหัวข้อที่แต่ละกลุ่ม ได้รับมาล่วงหน้าจากหนังสือในห้องสมุดหรือค้นคว้าจากแหล่งความรู้ Internet
                     -  ให้นักเรียนทุกคนเขียนสรุปความรู้ลงในสมุดรายวิชาตามความเข้าใจของตนเอง

คาบเรียนที่ 4  และคาบเรียนที่ 5
                1.  ขั้นกระตุ้นสมอง
                     -  ครูพูดคุยซักถามนักเรียนถึงการไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลของแต่ละกลุ่ม
                     -  นักเรียนตอบคำถามของครูตามที่นักเรียนได้ไปศึกษาค้นคว้ามา
                2.  ขั้นท่องสู่ประสบการณ์
                     -  ครูให้หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม  ออกมาจับสลากลำดับการออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามที่ได้วางแผนไว้แล้วในคาบเรียนที่ผ่านมา
                     -  นักเรียนกลุ่มที่ 1  ออกมารายงานหน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่กลุ่มได้รับโดยการส่งตัวแทนกลุ่มที่เพื่อนๆ ให้รับผิดชอบเรื่องการรายงานออกมารายงาน
                     -   ให้แต่ละกลุ่มรักษาเวลาในการรายงานกลุ่มละ  5  นาที
                     -   เมื่อจบการรายงานแต่ละกลุ่มก็ให้กลุ่มต่อไปที่จับสลากได้ออกมารายงานต่อ  จนครบ           5   กลุ่มตามลำดับที่กลุ่มจับสลากได้
                3.  ขั้นสร้างฐานความรู้
                     -  ให้นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้ที่แต่ละกลุ่มออกมารายงานลงในสมุดของตนตาม         ความเข้าใจของแต่ละคน
                     -  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำป้ายนิเทศไปจัดแสดงไว้ที่หน้าชั้นเรียนหลังจากรายงานกลุ่มเรียบร้อยแล้ว        
                4.  ขั้นสรุป
                     -  นักเรียนแต่ละกลุ่มเปิดโอกาสให้เพื่อนๆ  ได้ซักถาม
                     -  นักเรียนในกลุ่มช่วยกันตอบคำถาม  และครูช่วยสรุปในตอนท้ายอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
                     -  นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด            ท22206  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วย  การเรียนรู้ที่  6  เรื่อง  การศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงาน  ใช้เวลา  15  นาที  
                5.  ขั้นปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
                     -  ให้นักเรียนทุกคนกลับไปอ่านศึกษาทบทวนเพิ่มเติม  เพื่อนำไปทำแบบฝึกหัดทบทวนหลังจากเรียนจบเรื่องนี้แล้ว
                     -  ให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องในการทำแบบทดสอบในภาคผนวก  เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง

8.  สื่อการจัดการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
                1.  หนังสือ  ตำราวิชาการต่าง ๆ  ในห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน
                2.  เอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด  ท22206 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนรู้ที่  6  เรื่อง  การศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงาน

 แหล่งเรียนรู้
                1.  ห้องคอมพิวเตอร์ 1, 2
                3.  ห้องสมุดโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน

9.  หลักฐานและวิธีการประเมิน
หลักฐาน วิธีการประเมิน
                1.  แบบประเมินการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
                2.  แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                3.  แบบฝึกหัดทบทวน ตรวจแบบฝึกหัด 
                4.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์  แบบทดสอบก่อนเรียน  และแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ


บันทึกการตรวจแผนการจัดกิจกรรมก่อนนำไปใช้
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ฝ่ายวิชาการ
                                                                                             ( นางขวัญใจ  งอกงาม )
............/............................./..............

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
               
                                 นักเรียนทุกคนให้ความสนใจในเรื่องที่ครูบรรยาย และมีความตั้งใจฟังครูดีมาก มีการถามโต้ตอบกับครูดีมาก ในเรื่องการศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงาน และบางกลุ่มการศึกษา ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย ของแต่ละได้ นำเสนอหน้าชั้นเรียน ได้ดี

ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
               
                มีนักเรียนบางคนนอนหลับในห้องเรียน

แนวทางในการแก้ไข
               
                ครูให้ออกไปล้างหน้า แล้วกลับเข้าฟังต่อ และรายงานกับเพื่อน

ลงชื่อ.............................................ผู้สอน
                                                                                                   ( นายชูเกียรติ    ดวงผุย )
    ............/............................./..............
ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
                                                                                                      ( นางสาวรัตนา   ฮุงหวล)
               ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีย์พิทักษ์สว่างแดนดิน